วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2561

 การพัฒนาโครงงานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 
 การพัฒนาโครงงานทางดานเทคโนโลยีจําเปนตองใช แนวคิดเชิงคํานวณเพื่อแกปญหาตาง ๆ ไดอยางเปนระบบ เพื่อให จุดเริ่มตนในการพัฒนา โครงงานทางดาน เทคโนโลยี คืออะไร โครงงานสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย การพัฒนาโครงงานใด ๆ ทางดานเทคโนโลยี มีขั้นตอนเบื้องตน 6 ขั้นตอน ไดแก กําหนดปญหา วิเคราะหระบบ ออกแบบระบบ พัฒนาระบบและทดสอบระบบ ติดตั้งระบบ และบํารุงรักษาระบบ 
2.1 กําหนดปญหา 
กําหนดปญหา วิเคราะหความเปนไปไดและวางแผน คือ ขั้นตอนที่ทีมผูพัฒนาซอฟตแวร ทําการวิเคราะหความเปนไปไดในการพัฒนาซอฟตแวรวาจะสามารถดําเนินการไดสําเร็จหรือไม ภายใตปจจัยตาง ๆ เชน ระยะเวลาที่กําหนด งบประมาณที่กําหนด หรือจํานวนบุคคลกรในทีม งาน เปนตน หากวิเคราะหแลววามีความเปนไปไดสูงที่จะดําเนินการพัฒนาซอฟตแวรไดสําเร็จ จึงดําเนินการประชุมทีมงาน และวางแผนเพื่อพัฒนาซอฟตแวรเปนลําดับถัดไป รวมทั้งจัดทํา เอกสารการวางแผนการดําเนินงาน 
       1) ประชุมทีมงาน คือ การประชุมทีมงานผูพัฒนา เพื่อกําหนดหนาที่ใหแกทีมงาน กําหนดลักษณะการทํางาน ขอตกลงการทํางานตาง ๆ รวมถึงมาตรฐานการทํางาน เพื่อใหการ ปฏิบัติงานเปนไปในทิศทางเดียวกัน และควรจัดทําเอกสารบันทึกการประชุมใหผูเขารวมประชุม ลงลายมือชื่อรับทราบดวยเชนกัน
        2) กําหนดแผนงาน คือ ขั้นตอนการจัดทําแผนการดําเนินงาน ซึ่งถือวาเปนผลลัพธของ ขั้นตอนการวิเคราะหความเปนไปไดและการวางแผน ซึ่งหลังจากกําหนดแผนการดําเนินงานแลว ทีมผูพัฒนาตองนําเสนอแผนการดําเนินงานดังกลาวตอผูบริหารหรือผูที่มีอํานาจในการพิจารณา เพื่อพิจารณาและลงลายมือชื่อตอไป หากมีการปรับปรุงแกไขใหรีบดําเนินการทันที 
           ตัวอยาง แผนการดําเนินงานระบบหองสมุดโรงเรียนแหงหนึ่ง ซึ่งมีระยะเวลาการพัฒนา ระบบทั้งสิ้น 4 เดือน โดยเริ่มจากเดือนมีนาคม ถึง เดือนมิถุนายน

2.2 วิเคราะห์ระบบ 
วิเคราะห์ระบบคือ ขั้นตอนการทำความเข้าใจกับระบบงาน ทั้งระบบงานปัจจุบันและระบบ งานที่จะพัฒนาขึ้นมาแทนที่ หรือระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหม่ โดยการทำความเข้าใจระบบงานนั้น จำเป็นต้องเก็บรวมรวมข้อมูลปัญหาและความต้องการต่างๆเพื่อนมาวิเคราะห์หาขอบเขตของ ระบบงานใหม่ ฟังก์ชันงานต่างๆ และฟังก์ชันงานเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับบุคคลากรใดบ้าง รวมถึง จัดทำเอกสารการวิเคราะห์ระบบ และขั้นตอนการวิเคราะห์นี้ยังไม่จำเป็นต้องระบุวิธีการทำงาน ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบมีขั้นตอนย่อย ดังนี้
 1) สัมภาษณ์ผู้ใช้งาน คือขั้นตอนที่ต้องลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้ใช้งานเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ดังนี้ขั้นตอนการทำงานของระบบงานเดิม เอกสารการทำงานต่างๆ ของระบบงานเดิม ปัญหาที่ พบของระบบงานเดิม ความต้องการของระบบที่สร้างขึ้นใหม่ ข้อจำกัดหรือข้อยกเว้นต่างๆ ของ ระบบงานใหม่ ในการสัมภาษณ์นั้นทีมงานพัฒนาไม่ควรดำเนินงานเพียงลำพัง แต่ควรจัดทีมงาน สัมภาษณ์อย่างน้อย2คนเพื่อให้สามารถเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนซึ่งผู้ที่ทำหน้าที่รับผิดชอบในการ สัมภาษณ์จะเป็นนักวิเคราะห์และนักออกแบบระบบ 
 2) วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ คือ หลังจากการสัมภาษณ์เพื่อเก็บข้อมูลแล้ว ทีมผู้พัฒนาควรนำข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์หาข้อมูล ดังนี้ปัญหาและสาเหตุของ ปัญหาของระบบงานเดิมผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดของระบบงานใหม่ความต้องการของระบบงานใหม่ กระบวนการทำงานของระบบงานใหม่ และความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบงานใหม่ โดยต้องกลับไปสัมภาษณ์และวิเคราะห์ซ้ำ หากยังไม่สามารถวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการได้ ครบถ้วน หลักการวิเคราะห์คือ แสดงให้เห็นว่าระบบทำอะไร (what) โดยยังไม่พิจารณาว่าระบบ ทำอย่างไร (how) ซึ่งระบบทำอย่างไรนั้นจะดำเนินการในขั้นตอนการออกแบบระบบ
  3) กำหนดขอบเขตของระบบ คือ การกำหนดขอบเขตการพัฒนาระบบงานใหม่ โดย ต้องกำหนดว่าจะดำเนินการทำอะไรบ้าง ไม่ทำอะไรบ้าง ระบบงานใหม่มีฟังก์ชันงานอะไรบ้าง และไม่ครอบคลุมอะไรบ้าง มีข้อจำกัดอะไรบ้าง ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง หาก กำหนดขอบเขตไม่ชัดเจน อาจทำให้เกิดความไม่เข้าใจระหว่างทีมผู้พัฒนาและผู้ใช้งาน ส่งผลให้ ทีมผู้พัฒนาดำเนินงานนอกเหนือความต้องการของระบบ หรือพัฒนาไม่ครบถ้วนตามความต้องการ รวมถึงพัฒนาระบบผิดพลาดและล่าช้ากว่ากำหนด 
 4) วิเครำะห์กลุ่มกระบวนการทำงาน (grouping process) และกลุ่มข้อมูล (grouping data) คือ ขั้นตอนการวิเคราะห์เพื่อหากระบวนการทำงานว่าประกอบด้วยกระบวนการทำงานย่อย อะไรบ้างที่จะถูกพัฒนาขึ้นมา เช่น กระบวนการค้นหาข้อมูล กระบวนการจัดการการยืม-คืนหนังสือ กระบวนการการจัดการข้อมูลนักเรียน เป็นต้น และการวิเคราะห์เพื่อหากลุ่มข้อมูลที่เกิดขึ้นในการ พัฒนาว่ามีกลุ่มข้อมูลใด โดยแต่ละกลุ่มข้อมูลประกอบด้วยข้อมูลใดบ้าง เช่น กลุ่มข้อมูลหนังสือ ประกอบด้วยข้อมูลรหัสหนังสือ ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง จำนวนหน้า หมายเลข ISBN เป็นต้น พร้อม กับจัดทำแผนภาพกระแสข้อมูล และแผนภาพบริบท 
 แผนภาพกระแสข้อมูล (dataflow diagram)  
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนระบบใหม่ในการเขียนแผนภาพจำลองการทำงาน ของกระบวนการต่างๆ ในระบบ หรือเป็นแบบจำลองกระบวนการ (process model) ประเภทหนึ่ง ซึ่งนำมาใช้วิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงโครงสร้าง โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ กับข้อมูล ใช้บรรยายภาพรวมของระบบ แสดงขั้นตอนการทำงานของระบบ ระบุแหล่งข้อมูล การไหล ของข้อมูล ปลายทางข้อมูล การเก็บข้อมูล และการประมวลผลข้อมูล
 วัตถุประสงค์ของกำรสร้ำงแผนภำพกระแสข้อมูล
 • เป็นแผนภาพที่สรุปรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการวิเคราะห์ในลักษณะของรูปแบบ ที่เป็นโครงสร้าง 
 • เป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้งาน
 • เป็นแผนภาพที่ใช้ในการพัฒนาต่อในขั้นตอนของการออกแบบระบบ
 • เป็นแผนภาพที่ใช้ในการอ้างอิง หรือเพื่อใช้ในการพัฒนาต่อในอนาคต
 • ทราบที่มาที่ไปของข้อมูลที่ไหลไปในกระบวนการต่างๆ (data and process)

วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2561

เเนวคิดเชิงคำนวณ

เเนวคิดเชิงคำนวณ (Computational Thinking) ไม่ใช่การคิดเหมืิอนหุ่นยนต์หรือการเขียนโปรเเกรมโดยผู้เชียวชาญ เเต่เป็นทักษะที่มุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะ คือ สามารถอธิบายการคิดเชองคำนวณอย่างเป็นระบบ หรือเป็นการเเก้ไขปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยการเข้าใจปัญหาเเละวิธีการในการเเก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่ิอให้ได้มาซึ่งวิธีการเเก้ไขปัญหาที่ทั้งมนุษย์เเละคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้